บันทึกหลังการสอน วันที่
28 กุมภาพันธ์ 2559 ครั้งที่
17
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน นักศึกษาในระดับ ม.ต้น และ ม.ปลาย
เช้าวันนี้ ครู กศน.ตำบลได้แจ้งให้นักศึกษา
เกี่ยวกับตาราง วัน เวลา
ในการสอบ ทั้งรายวิชาบังคับ และรายวิชาเลือกที่จะดำเนินการสอบ
ในวันที่ 6 มีนาคม
2559
และแจ้งรายวิชาที่ลงทะเบียน
และรายวิชาที่ต้องสอบ ตามตารางสอบ ประจำภาคเรียนที่ 2 / 2558 พร้อมทั้งอธิบาย
ถึงขั้นตอนการสอบ และข้อปฏิบัติต่าง ๆ
ในการปฏิบัติตนตามระเบียบว่าด้วยการสอบ
การเตรียมตัวสอบ รวมถึงการแต่งกาย
และอุปกรณ์ที่ใช้ในการสอบ
ติดตามการจัดทำเอกสาร
โครงงาน และการลงบันทึก บัญชีรายรับ – จ่าย และแฟ้มสะสมผลงาน
วิชา
คณิตศสาสตร์ ได้ทำการทบทวน รายวิชาคณิตศาสตร์ซึ่งครูสนทนา ถึง
เนื้อหาทั้งหมดที่ได้ให้ไปทบทวน
และศึกษามาล่วงหน้า แล้วทำการฝึกปฏิบัติจริง ตามเนื้อหา
และรายละเอียดตจามเนื้อเรื่องที่ต้องการเรียนรู้ตามลำดับ หัวข้อเนื้อหาที่ต้องการศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติม โดยได้ทำการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ ดังนี้
ครูยกตัวอย่างในหนังสือเรียน
และตัวอย่างที่ต้องการศึกษา
โดยวิธีการถาม – ตอบ
และอธิบายในเนื้อหาต่าง ๆ แล้วให้นักศึกษาได้ลงมือทำ
ร่วมกันบนกระดานตาม
ตัวอย่างที่ครูเตรียมมา
เมื่อทำเสร็จแล้วครูและนักศึกษา ร่วมกันค้นหา
คำตอบ พร้อมเฉลยหาคำตอบที่ถูกต้อง
ครูและนักศึกษาร่วมกันสรุป เนื้อหาจากที่ได้เรียนรู้ ร่วมกันโดยใช้วิธีการ
ถาม - ตอบ
และสิ่งที่บกพร่องหรือผิดพลาดให้ นักศึกษาทราบ โดยได้ทบทวนในเนื้อหาดังนี้
เรื่อง จำนวนและการดำเนินการ
กิจกรรมการเรียนการสอน
ความสัมพันธ์ของระบบจำนวนจริง โครงสร้างของจำนวนจริง คือ จำนวนตรรกยะ และ
จำนวนอตรรกยะ
สมบัติการบวก การลบ การคูณ
และการหารจำนวนจริง
สมบัติของจำนวนจริง คือ
การนำจำนวนจริงใด ๆ
มากระทำต่อกันในลักษณะ เช่น
การบวก การลบ
การคูณ การหาร หรือกระทำด้วยลักษณะพิเศษที่กำหนดขึ้น
แล้วมีผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในลักษณะหรือทำนองเดียวกัน
นำมาสรุปเป็นสมบัติเพื่อสะดวกในการนำไปประยุกต์ใช้
ครู ได้อธิบายในเรื่องเกี่ยวกับค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงและหาค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง และการหาค่าสมบูรณ์ของจำนวนจริงได้
ครู อธิบายความหมายและบอกความแตกต่างของจำนวนตรรกยะและจำนวนอตรรกยะ จำนวนจริงที่
อยู่ ในรูปเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
การเขียนเลขยกกำลังเมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะสามารถทำได้โดยอาศัยความรู้เรื่อง รากที่ n
ของจำนวนจริง a ( ซึ่งเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
)
และมีบทนิยาม การเขียนเลขยกกำลังเมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะสามารถทำได้โดยอาศัยความรู้เรื่อง รากที่ n
ของจำนวนจริง a ( ซึ่งเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
)
การเขียนเลขยกกำลังเมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะสามารถทำได้โดยอาศัยความรู้เรื่อง รากที่ n
ของจำนวนจริง a ( ซึ่งเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
) และ
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
-อัตราส่วนตรีโกณมิติ
-การหาค่ากลางของข้อมูล
โดยใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม
ได้ทำการฝึก
การหาค่ากลางของข้อมูลที่เป็นตัวแทนของข้อมูลทั้งหมดเพื่อความสะดวกในการสรุปเรื่องราวเกี่ยวกับข้อมูล โดยการหาค่ากลางของข้อมูลมีวิธีหาหลายวิธี แต่ละวิธีมีข้อดีและข้อเสีย และมีความเหมาะสมในการนำไปใช้ไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะข้อมูลและวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ข้อมูลนั้นๆ ค่ากลางของข้อมูลที่สำคัญ มี 3 ชนิด คือ
1.
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic
mean)
2.
มัธยฐาน
(Median)
3.
ฐานนิยม
(Mode)
การหาค่ากลางของข้อมูลทำให้ได้ทั้งข้อมูลที่แจกแจงความถี่และข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่
การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่
หรือ
ตัวอย่าง จากการสอบถามอายุของนักเรียนกลุ่มหนึ่งเป็นดังนี้ 14
, 16 , 14 , 17 , 16 , 14 , 18 , 17
ตัวอย่าง ที่ได้ทำการ
ทบทวน
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของนักเรียนกลุ่มนี้ คือ 15.75 ปี
2) วิธีทำ
เมื่อ 3 ปีที่แล้ว 11 13 11 14 13 11 15 14
อายุปัจจุบัน 14 16 14 17 16 14 18 17
เมื่อ 3 ปีที่แล้ว 11 13 11 14 13 11 15 14
อายุปัจจุบัน 14 16 14 17 16 14 18 17
ตอบ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของอายุของนักเรียน คือ 12.7
เรื่อง ความน่าจะเป็น
วิธีทำ โยนลูกเต๋า 2
ลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง เป็นการทำงาน 2 อย่าง
ลูกที่
1 ลูกที่ 2
จัดได้
6 × 6
งานอย่างแรก
การเกิดของลูกเต๋าลูกที่ 1 ซึ่งมี 6 หน้า เกิดได้ 6 วิธี คืออาจหงายหน้า 1
, 2, 3 …., หรือ 6
)
\ โยนลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง เกิดได้
= 6 ×6 = 36 วิธี
สามารถแจกแจงผลลัพธ์ ได้ดังนี้
( 1 , 1) ( 1 , 2 ) (1
, 3 ) ( 1 , 4) ( 1
, 5) ( 1 , 6)
( 2 , 1) ( 2 , 2 ) (2
, 3 ) ( 2 , 4) ( 2
, 5) ( 2 , 6)
( 3 , 1) ( 3 , 2 ) (3
, 3 ) ( 3 , 4) ( 3
, 5) ( 3 , 6)
( 4 , 1) ( 4 , 2 ) (4
, 3 ) ( 4 , 4) ( 4
, 5) ( 4 , 6)
( 5 , 1) ( 5 , 2 ) (5
, 3 ) ( 5 , 4) ( 5
, 5) ( 5 , 6)
( 6 , 1) ( 6 , 2 ) (6
, 3 ) ( 6 , 4) ( 6
, 5) ( 6 , 6) ตอบ
แซมเปิลสเปช
1. สมาชิกทุกตัวในเหตุการณ์ E ต้องเป็นสมาชิกในอยู่ในแซมเปิลสเปช S
ดังนั้น 0 ≤ n(E)≤n(S)
2. ถ้า E เป็นเหตุการณใด ๆ ในแซมเปิลสเปช S จะได้ว่า
2.1 0≤P(E)≤1
2.2 ถ้า P(E)=1 หมายถึงเหตุการณ์นั้นต้องเกิดขึ้นแน่นอน
ถ้า P(E)=0 หมายถึงเหตุการณ์นั้นต้องไม่เกิด
2.3 ถ้า S เป็นแซมเปิลสเปช จะได้ว่า P(S)=
1. สมาชิกทุกตัวในเหตุการณ์ E ต้องเป็นสมาชิกในอยู่ในแซมเปิลสเปช S
ดังนั้น 0 ≤ n(E)≤n(S)
2. ถ้า E เป็นเหตุการณใด ๆ ในแซมเปิลสเปช S จะได้ว่า
2.1 0≤P(E)≤1
2.2 ถ้า P(E)=1 หมายถึงเหตุการณ์นั้นต้องเกิดขึ้นแน่นอน
ถ้า P(E)=0 หมายถึงเหตุการณ์นั้นต้องไม่เกิด
2.3 ถ้า S เป็นแซมเปิลสเปช จะได้ว่า P(S)=
-ปัญหาที่พบในการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอน
-
นักศึกษามาสาย
และตามเนื้อหาไม่ทันในบางราย
-
นักศึกษา ขาดเรียน
-แนวทางการแก้ปัญหา
-
ครูได้ทำการ สอนในเนื้อหาเพิ่มเติมเฉพาะให้ บางหัวข้อที่ต้องการ
-
ติดตามให้นักศึกษา ประสานผ่านทางโทรศัพท์ และติดตามผ่านเพื่อนโดยเพื่อนช่วยติดตาม อีก
ช่องทางหนึ่ง
-สื่อการเรียนการสอน - แบบเรียนคณิตศาสตร์
- นัดหมาย การเข้าทดสอบ รายวิชาเลือก ประจำภาคเรียนที่ 2/255๘ วันที่
6 มีนาคม 2559
-
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น